กฎหมาย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๙๐๕ Add to Bookmark Share
มาตรา ๙๐๕ ภายในบังคับแห่งบทบัญญัติมาตรา ๑๐๐๘ บุคคลผู้ได้ตั๋วแลกเงิน,ตั๋วสัญญาใช้เงิน,เช็ค'>ตั๋วเงินไว้ในครอบครอง ถ้าแสดงให้ปรากฏสิทธิด้วยการสลักหลังไม่ขาดสาย แม้ถึงว่าการสลักหลังรายที่สุดจะเป็นสลักหลังลอยก็ตาม ท่านให้ถือว่าเป็นตั๋วแลกเงิน,ตั๋วสัญญาใช้เงิน,เช็ค'>ตั๋วเงินไว้ในครอบครอง โดยฐานเป็นผู้รับเงิน หรือเป็นผู้รับสลักหลัง ถ้าและเป็นตั๋วแลกเงิน,ตั๋วสัญญาใช้เงิน,เช็ค'>ตั๋วเงินสั่งจ่ายให้แก่ผู้ถือๆ ก็นับว่าเป็นผู้ทรงเหมือนกัน'>ผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมาย เมื่อใดรายการสลักหลังลอยมีสลักหลังรายอื่นตามหลังไปอีก ท่านให้ถือว่าบุคคลผู้ที่ลงลายมือชื่อในการสลักหลังรายที่สุดนั้น เป็นผู้ได้ไปซึ่งตั๋วแลกเงิน,ตั๋วสัญญาใช้เงิน,เช็ค'>ตั๋วเงินด้วยการสลักหลังลอย อนึ่งคำสลักหลังเมื่อขีดฆ่าเสียแล้วท่านให้ถือเสมือนว่ามิได้มีเลย
ถ้าบุคคลผู้หนึ่งผู้ใดต้องปราศจากตั๋วแลกเงิน,ตั๋วสัญญาใช้เงิน,เช็ค'>ตั๋วเงินไปจากครอบครอง ท่านว่าตั๋วแลกเงิน,ตั๋วสัญญาใช้เงิน,เช็ค'>ตั๋วเงินไว้ในครอบครอง โดยฐานเป็นผู้รับเงิน หรือเป็นผู้รับสลักหลัง ถ้าและเป็นตั๋วแลกเงิน,ตั๋วสัญญาใช้เงิน,เช็ค'>ตั๋วเงินสั่งจ่ายให้แก่ผู้ถือๆ ก็นับว่าเป็นผู้ทรงเหมือนกัน'>ผู้ทรงซึ่งแสดงให้ปรากฏสิทธิของตนในตั๋วตามวิธีการดังกล่าวมาในวรรคก่อนนั้น หาจำต้องสละตั๋วแลกเงิน,ตั๋วสัญญาใช้เงิน,เช็ค'>ตั๋วเงินไม่ เว้นแต่จะได้มาโดยทุจริต หรือได้มาด้วยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
อนึ่ง ข้อความในวรรคก่อนนี้ ให้ใช้บังคับตลอดถึงตั๋วแลกเงิน,ตั๋วสัญญาใช้เงิน,เช็ค'>ตั๋วเงินไว้ในครอบครอง โดยฐานเป็นผู้รับเงิน หรือเป็นผู้รับสลักหลัง ถ้าและเป็นตั๋วแลกเงิน,ตั๋วสัญญาใช้เงิน,เช็ค'>ตั๋วเงินสั่งจ่ายให้แก่ผู้ถือๆ ก็นับว่าเป็นผู้ทรงเหมือนกัน'>ผู้ทรงตั๋วแลกเงิน,ตั๋วสัญญาใช้เงิน,เช็ค'>ตั๋วเงินสั่งจ่ายให้แก่ผู้ถือด้วย